แนวทางการพัฒนาระบบงานทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาชุมชน


สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ และเศรษฐกิจสังคมที่ขยายตัวขึ้นจากพัฒนาการทางด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาชุมชน เช่น ระบบหนังสือ ร้านค้าหนังสือในชุมชน ที่อ่านหนังสือ แหล่งเผยแพร่ความรู้และข้อมูลข่าวสารในชุมชน กิจกรรมความรู้และวัฒนธรรมการอ่าน ธุรกิจบันเทิงและกิจกรรมเศรษฐกิจสังคม การร้องคาราโอเกะซึ่งทำให้เกิดร้านค้าและการประยุกต์กิจกรรมที่สืบเนื่องกับการใช้สอยคอมพิวเตอร์ให้เกิดกิจกรรมสังคมในโอกาสต่างๆของชุมชนและภาคประชาชน ระบบไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแบบไร้สาย ระบบเสียงตามสาย วิทยุชุมชน ระบบสื่อโฆษณาและการติดตั้งแผ่นป้ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ออแกไนเซอร์เพื่อจัดงานเทศกาลและประเพณีต่างๆ และวิธีสื่อสารแบบต่างๆของชุมชน ตลอดจนทรัพยากรบุคคลและผู้มีความสามารถอันเป็นที่ยอมรับในความเป็นผู้นำอย่างเป็นธรรมชาติ

เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาชุมชน มิใช่สิ่งที่ชุมชนโดยทั่วไปไม่เคยมีอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทสอดแทรกและผสมผสานอยู่ในกิจกรรมชีวิตและเป็นองค์ประกอบความเป็นชุมชนในท้องถิ่นต่างๆมากน้อยแตกต่างกันอยู่แล้ว แต่ไม่ได้จัดหมวดหมู่และจำแนกจัดระบบให้สามารถกล่าวถึงได้อย่างเจาะจงและดำเนินการต่างๆที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ขาดโอกาสเลือกสรรพัฒนาการทางวิทยาการและเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นและไหล่บ่าเข้าสู่วิถีชีวิตของผู้คนในชุมชนอย่างรวดเร็ว มาดำเนินการต่างๆให้เอื้อต่อการพัฒนาและจัดการความเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ดังที่ควรจะเป็น ซึ่งในอนาคตก็จะยิ่งเกิดแรงกดดันต่อวิถีชีวิตทางด้านต่างๆมากยิ่งๆขึ้น ขณะเดียวกัน ก็ขาดระบบจัดการที่เหมาะสมเพื่อนำเอาประสบการณ์ทางสังคมและทุนทางปัญญาที่มีอยู่เป็นจำนวนมากมาเป็นพื้นฐานสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนในการพัฒนาตนเอง ความจำเป็นที่เกิดขึ้นพร้อมกันไปทั้งสองด้านดังกล่าว หากชุมชน ตลอดจนประชาชนพลเมือง มีระบบดำเนินการเพื่อบูรณาการพื้นฐานเดิมของชุมชนกับสภาพแวดล้อมสมัยใหม่ของสังคมให้อยู่ในความสามารถเรียนรู้และพัฒนาวิธีจัดการต่างๆไปตามความเหมาะสมอยู่เสมอ ประชาชนและชุมชนก็จะมีระบบพัฒนาการเรียนรู้เพื่อจัดการความเปลี่ยนแปลงตนเองบนฐานการเรียนรู้และสามารถบูรณาการระบบภูมิปัญญาต่างๆ รวมทั้งสามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สร้างการจัดการระบบภูมิปัญญาที่ดี และพอเพียงกับความเป็นตัวของตัวเอง เข้าไปดำเนินการสิ่งที่ต้องการต่างๆได้อย่างเหมาะสม แนวทางการพัฒนาระบบงานทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาชุมชนดังต่อไปนี้ จึงนำเสนอพอเป็นแนวทางสำหรับพัฒนาระบบจัดการตนเองของชุมชนให้สอดคล้องกับความจำเป็น รวมทั้งจะเป็นอีกมิติหนึ่งของการปฏิรูปโครงสร้างการจัดการด้านการเรียนรู้ของชุมชน ให้สามารถสนองตอบต่อกับความจำเป็นต่างๆได้ดีขึ้น

การสร้างและสั่งสมภูมิปัญญาในระบบสังคมไทยที่นอกเหนือจากระบบการศึกษาสมัยใหม่นั้น เป็นกระบวนการที่ผสมผสานอยู่ในวิถีชีวิตและในกิจกรรมทางสังคมวัฒนธรรม ตลอดจนอยู่ในบริบทอันแตกต่างหลากหลายไปตามลักษณะท้องถิ่นของภูมิภาคต่างๆ ซึ่งนับว่ามีความสำคัญและเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาชุมชนให้มีความต่อยอด เสริมความเข้มแข็ง และสืบทอดการพัฒนาที่ยั่งยืนให้กับชุมชนตามท้องถิ่นต่างๆได้เป็นอย่างดี โดยสภาพที่เป็นทุนเดิมของชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ

การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่มีมายาวนาน

ทางเลือกบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น

เกิดขึ้นจากผลกระทบจากการพัฒนากระแสหลักที่ให้ความสำคัญกับการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความทันสมัย สร้างผลกระทบมากมายต่อชุมชนท้องถิ่นไม่ว่าจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม  ความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร ปัญหาความยากจน ความแตกต่างระหว่างรายได้ของคนจนและคนรวย ความแตกต่างระหว่างสังคมเมืองและสังคมชนบท รวมทั้งปัญหาที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งทำให้วิถีชีวิตของคนเปลี่ยนไปจากเดิม  คนต้องแสวงหาทางเลือกเพื่อความอยู่รอด จึงเกิดการพัฒนาทางเลือกขึ้นโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยคนในชุมชนเอง เพื่อนำเสนอให้สังคมโลกได้รับรู้ว่าการพัฒนากระแสหลักไม่ใช่คำตอบสุดท้ายเสมอไป  แต่ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือการพัฒนาทางเลือกต่างหากที่จะก่อให้เกิดความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิตของชุมชน

สังคมไทยในอดีตล้วนมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่แวดล้อมอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆเป็นตัวกำหนดรากฐานทางภูมิปัญญาดั่งเดิมที่สืบทอดมา แม้ว่ากระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงจะเป็นตัวแปรที่ทำให้สูญหายไปบ้า’ตามกาลเวลา แต่ก็ยังคงเหลือร่องรอยอยู่บ้างโดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีท้องถิ่นที่แสดงถึงประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถของชาวบ้านในการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ โดยใช้ศักยภาพของตนเองรังสรรค์และถ่ายทอดคุณค่าแห่งภูมิปัญญา ซึ่งเป็นเครื่องบ่งบอกให้เราได้ทราบว่าในบรรพกาล บรรพบุรุษของเราได้สั่งสมวิวัฒนาการความเจริญก้าวหน้าทางอารยธรรม วัฒนธรรมต่างๆที่แสดงถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่

การเรียนรู้ภูมิปัญญาให้เด็กและเยาวชนเป็นผู้สืบทอดภูมิปัญญาจากผู้รู้ในชุมชน เพื่อให้เยาวชนสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอดประมวลผล ตลอดจนสนับสนุนให้เยาวชน และเชื่อมโยงเครือข่ายในการพัฒนาชุมชน และสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา ต่อสู้กับกระแสของการรุกของวัฒนธรรมยุคใหม่โดยการรวมกลุ่มเยาวชน และชุมชนโดยตระหนักถึงความสำคัญของชุมชน มีความเข้าใจรากเหง้า ความเป็นวัฒนธรรม แบ่งปัน เกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการศึกษาเรียนรู้วิถีการดำรงชีวิต ชุมชนภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีมาช้านานบนพื้นฐานของธรรมชาติที่เกี่ยวพันสอดคล้องกันกับวิถีชีวิตชุมชน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถทำให้ความรู้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบันได้

ประการแรกคือการอนุรักษ์ เป็นการบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้ เช่น ประเพณีต่างๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟู เป็นการรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกำลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ การประยุกต์ เป็นการปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่ ซึ่งภูมิปัญญาชาวบ้านเหล่านี้ล้วนแต่เป็นความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

ความร่วมมือกันในการพัฒนาชุมชนให้ยั่งยืน

การพัฒนาเศรษฐกิจ แม้จะให้ความสำคัญทางด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในช่วงหลังๆ แต่จุดเน้นในทางปฏิบัติก็ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทำให้มีผลต่อพฤติกรรม และค่านิยมของประชาชน กล่าวคือ มีพฤติกรรมเลียนแบบตะวันตก ทอดทิ้งเอกลักษณ์ที่ดีงามของไทยหลายอย่าง และมีค่านิยมให้ความสำคัญกับวัตถุมากกว่าจิตใจ นี่คือผลผลิตที่เป็นคนหรือประชาชน และปัจจุบันคนเหล่านี้กำลังอยู่ในวัยที่เป็นหลักรับผิดชอบต่อสังคมส่วนใหญ่อยู่ เป็นวัยที่ถ่ายทอดหลักคิดและค่านิยมแก่คนรุ่นต่อไป สิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อสังคมไทยต่อมา คือ สังคมไทยกลายเป็นสังคมตะวันตกมากขึ้นทุกวัน และยังเป็นสังคมตะวันตกที่ยังไม่สมดุล

การส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น

โดยประชาชนเข้าร่วมมือหรือริเริ่มเอง ถ้าประชาชนไม่รู้จักริเริ่มการใช้เทคนิคกระตุ้นเตือนให้เกิดการริเริ่ม เมื่อประชาชนเข้าร่วมมือกับรัฐจึงทำให้เกิดบทบาทและกรรมวิธีขึ้นอีก เพราะประชาชนต้องปรึกษาหารือกันเอง กำหนดความต้องการ วางโครงการเองแล้วก็ร่วมมือกันเอง แล้วร่วมมือกันปฏิบัติตามโครงการนั้นๆ เพราะว่าวิธีที่ประชาชนคิดทำเอง มีความสำคัญยิ่งกว่าผลงานเสียอีก ตลอดจนความเชื่อมั่นในตนเอง เนื่องจากกำลังที่สำคัญจะสำเร็จได้สมความมุ่งหมาย ก็คือ ประชาชนโดยที่ประชาชนมีความต้องการมีความสามารถอยู่ในตัวประชาชนเอง ซึ่งจัดได้ว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญ

การเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการปรับตัว และลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ อันเป็นเป็นจากภาวะโลกร้อน มุ่งเน้นการทำความเข้าใจร่วมของสมาชิกในชุมชนเป้าหมายเกี่ยวกับปัญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อชุมชนของตนเอง โดยการจัดเวทีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นจุดเชื่อมในการสร้างความเข้าใจถึงปัญหาสาเหตุของภาวะโลกร้อน และการพัฒนาแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการปรับวิถีการดำรงชีพ

การพัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง

จำเป็นต้องเริ่มต้นที่การพัฒนาคนให้รู้จักตัวเอง รู้ปัญหาของตนเองและชุมชน รู้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ตลอดจนมีการเชื่อมโยงและประสานงานกับหน่วยงานภายนอกเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สอดคล้องและเหมาะสมกับพื้นที่จนเกิดชุมชนพึ่งตนเองได้ พร้อมทั้งนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์เป็นแนวทางการดำเนินงาน เน้นการพึ่งตนเอง โดยสร้างสังคมแห่งการเอื้ออาทรพึ่งพาอาศัยกันนำไปสู่วิธีการคิดและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชุมชน/ท้องถิ่นต่อไป

การใช้เว็บบอร์ดชุมชนในการติดต่อสื่อสาร

การติดต่อสื่อสารครบวงจร หมายถึง การนำเทคโนโลยีซอฟท์แวร์ที่มีความซับซ้อนหลายๆ เทคโนโลยีมาใช้งานร่วมกัน มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่หลากหลายภายในเครือข่ายและระบบเดียวกัน ด้วยเทคโนโลยีดังกล่าวทำให้เกิดการติดต่อสื่อสารแบบไร้รอยต่อและเป็นการใช้งานอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

ในปัจจุบันกิจกรรมทางธุรกิจมีการใช้งานการติดต่อสื่อสารที่หลากหลายด้วย อุปกรณ์ที่ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Phone) อีเมล์ (Electronic mail) การใช้งานโทรศัพท์ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ (Telephone software for PCs) การประชุมทางไกลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Web conferencing) และการส่งข้อความ (Instant Messaging) การใช้เว็บบอร์ด อย่างไรก็ตาม เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทั้งหลายที่ใช้งานในการติดต่อสื่อสารข้างต้นเป็นการ ใช้งานแยกจากกันและใช้วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือการติดต่อสื่อสารที่แตกต่างกัน ทำให้เครือข่ายในการติดต่อสื่อสารมีความซับซ้อนจากการใช้งานอุปกรณ์ที่หลากหลาย

ในอนาคตอันใกล้การเชื่อมต่อหรือการติดต่อสื่อสารด้วย Internet Protocol (IP) จะเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก ซึ่งนำไปสู่การใช้งานเครือข่ายการติดต่อสื่อสารแบบครบวงจร (Unified Communication) ซึ่งการติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรนี้ทำให้เกิดระบบที่เรียกว่า Intelligent Routing กล่าวคือ เป็นการติดต่อสื่อสารไปยังบุคคลที่เหมาะสมทั้งในเรื่องของเวลาและสถานที่ ด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณ์นั้น เช่น ในกรณีที่เราต้องการติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อเราไม่จำเป็นต้องจำว่าเจ้า หน้าที่ฝ่ายจัดซื้อมีเบอร์โทรศัพท์อะไร กรณีที่โทรไปแล้วเจ้าหน้าที่คนดังกล่าวไม่อยู่ต้องติดต่อที่ไหน ด้วยการติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรและระบบ Intelligent Routing จะใช้ซอฟท์แวร์เป็นตัวค้นหาว่า การติดต่อถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อต้องทำอย่างไร ผู้ใช้งานเพียงแค่ร้องขอการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อไปเท่านั้น ซอฟท์แวร์จะกำหนดรูปแบบในการติดต่อสื่อสารที่เหมาะสมในช่วงเวลานั้นให้ ด้วยการทำงานที่สามารถรองรับสภาพแวดล้อมที่หลากหลายภายในองค์กรรวมถึงกระบวน การทำงานทำให้การติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงาน สร้างคุณค่าให้กับองค์กรและเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

การติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรทั้งเสียง ภาพ และข้อมูล ตั้งเป้ากลุ่มลูกค้าประเภทองค์กรเป็นหลัก ในช่วงแรกของการทำตลาดสำหรับเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรนั้น ได้มุ่งเป้าไปที่องค์กรขนาดใหญ่เป็นหลัก โดยเฉพาะองค์กรข้ามชาติที่มีกิจการสาขา หรือบริษัทลูกในหลายประเทศ ทั้งนี้เพราะการลงทุนเพื่อที่จะบูรณาการรูปแบบการสื่อสารแบบครบวงจรภายใต้ มาตรฐานเดียวกันนั้นค่อนข้างมีค่าใช้จ่ายที่สูง และผลตอบแทนจากการลงทุนจะเห็นได้ชัดเจนหากมีการต้องติดต่อสื่อสารทางไกลเป็น จำนวนมาก แต่ในปัจจุบันที่ได้มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ซึ่งเหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลางและขนาดย่อม โดยมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่น้อยกว่า นอกจากนี้ยังมองกลุ่มเป้าหมายไปยังกลุ่มนักธุรกิจที่ต้องเดินทางบ่อยๆ เพราะกลุ่มคนเหล่านี้ให้ความสำคัญกับเรื่องของเวลาและความเร็วในการติดต่อ สื่อสารและประสานงานร่วมกันแบบ Real-time อย่างไรก็ดี แม้ว่าอุตสาหกรรมต่างๆจะต้องการ “ความเร็ว” ในการดำเนินงานเพื่อเอาชนะคู่แข่งขัน หากแต่ว่าต้องมีการวางแผนบริหาร “ความเร็ว” นั้นอย่างรอบคอบ เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า และสภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมนั้นด้วย ยกตัวอย่างเช่น บริษัทอุตสาหกรรมญี่ปุ่นแห่งหนึ่งมีการนำการติดต่อสื่อสารแบบครบวงจรมาใช้ โดยการเชื่อมการสื่อสารกับผู้ขายวัตถุดิบทำให้ผู้ขายสามารถส่งวัตถุดิบมาได้ ทันต่อความต้องการอย่างรวดเร็ว และสามารถผลิตสินค้าเสร็จภายใน 5 ชั่วโมง แต่เพียงเพราะว่าลูกค้าไม่เชื่อว่าสินค้าที่ผลิตได้ภายใน 5 ชั่วโมงจะมีคุณภาพดีจริง ทำให้บริษัทนี้จำเป็นต้องเก็บสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วไว้นานถึง 1 สัปดาห์ จากตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่าไม่ใช่ว่าทุกอุตสาหกรรมจะนำการติดต่อสื่อสารแบบ ครบวงจรมาผนวกเข้ากับธุรกิจแล้วจะได้รับประโยชน์สูงสุดเสมอไป การบริหารการใช้เทคโนโลยีและเวลาให้เหมาะสมน่าจะเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญมากกว่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้าและตลาดเป็นหลัก

วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดทำเว็บบอร์ดชุมชนเพื่อให้บริการข้อมูล

การจัดทำเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์

เป็นองค์ประกอบที่สำคัญมากอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเราได้จัดทำเว็บไซต์เสร็จแล้วจะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด โดยอาศัยวิธีการต่างผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต นอกเหนือจากนี้อาจใช้ชื่อ domain name ในการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ผ่านสื่ออื่นๆ เช่น ในนามบัตร, ใบปลิวหรือ โบรชัวร์ของบริษัท เป็นต้น ซึ่งในการจัดทำเว็บไซต์ขึ้นมาเว็บไซต์หนึ่งสามารถกำหนดวัตถุประสงค์หรือเลือกจัดทำเว็บไซต์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือเลือกที่จะใช้รูปแบบ และประโยชน์ของการจัดทำจากทุกประเภทของเว็บไซต์ก็ได้ เหล่านี้เป็นเพียงการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเว็บไซต์ เพื่อเป็นแนวทางให้ท่านสามารถเลือกประเภทของเว็บไซต์ที่เหมาะสมกับธุรกิจของท่าน, กำหนดขอบเขตของการจัดทำ, และใช้เป็นแนวทางประกอบในการคัดเลือกผู้จัดทำ และให้บริการทางด้านเว็บไซต์ต่อไปได้

หัวใจหลักในการก้าวสู่การประสานการทำงานและแลกเปลี่ยนความรู้กันอย่างเป็นธรรมชาติ คือ ชุมชนนักปฏิบัติที่แต่ละคนในชุมชนมีความสนใจและมีวัตถุประสงค์ร่วมกันที่จะเข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ผ่านทั้งรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งผ่านการพบปะหรือผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นกลุ่มที่มีความชอบ มีความสนใจในสาระความเชี่ยวชาญหรือมีปัญหาร่วมกันสมาชิกในกลุ่มพร้อมและเต็มใจที่จะเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เว็บบอร์ดชุมจึงไม่ใช่เป็นเพียงเว็บไซต์ฐานข้อมูลหรือแหล่งรวบรวมแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด แต่เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ ความเข้าอกเข้าใจซึ่งกันและกันในระหว่างการดำเนินกิจกรรมร่วมกันจะเสริมสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมและความเป็นเจ้าของร่วมกัน

การจัดทำและพัฒนาเว็บไซต์ชุมชน

เพื่อการให้บริการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชนแก่หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเกิดความพึงพอใจในการบริการ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์องค์การ ซึ่งเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์ภายในองค์การพัฒนาชุมชมได้รับทราบข้อมูลข่าวสารและผลการดำเนินงานพัฒนาชุมชน แต่ประเด็นสำคัญคือเราจะขับเคลื่อนกระบวนการประชาสัมพันธ์อย่างไร ถึงจะไปถึงเป้าหมายที่กำหนดต่างหาก เพื่อปรึกษาและขอความคิดเห็นจากหัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดและประสบในปัจจุบัน และพัฒนาการประชาสัมพันธ์ให้ดีขึ้น

วัตถุประสงค์และประโยชน์จากการจัดทำเว็บบอร์ดชุมชน

– เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือบริการขององค์กร หรือบริษัท รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีน่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์องค์กร
– เพื่อใช้ในลักษณะการให้บริการแก่ลูกค้าหรือสมาชิกขององค์กร หรือบริษัท โดยการนำเว็บไซต์มาเป็นเครื่องมือ ช่วยในการอำนวยความสะดวกแก่ลูกค้าหรือสมาชิกเป็นหลัก ได้แก่ เว็บไซต์บริการหรือเว็บไซต์ชุมชน
– เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการทำตลาดรวมถึงธุรกรรมที่สำคัญ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งเน้นไปยังการหาตลาดใหม่ๆเป็นหลัก เพื่อนำเสนอขายสินค้าหรือบริการ ได้แก่ เว็บไซต์อี-คอมเมอร์ส

ชุมชนคนตุรกีประเทศสองทวีปที่มีดินแดนอยู่ทั้งในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป

การเดินทางไปท่องเที่ยวหรือติดต่อธุรกิจ สำหรับคนที่มีสัญชาติไทยสามารถเดินทางเข้า ประเทศตุรกี ได้โดยไม่ต้องขอวีซ่า ซึ่งแต่ละครั้งสามารถท่องเที่ยวในประเทศได้นานถึง 30 วันนั้น เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงเริ่มสนใจอยากจะไปท่องเที่ยวประเทศตุรกีกันบ้างแล้ว

ตุรกีเป็นประเทศที่สวยงามด้วยมรดกโลกและสิ่งมหัศจรรย์ของโลก รวมทั้งร่องรอยแห่งอารยธรรมโบราณอันยิ่งใหญ่ เมืองหลวง เป็นประเทศที่มีพรมแดนระหว่างทวีปเอเชียกับยุโรป เนื่องจากส่วนหนึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป (ร้อยละ 3) อีกส่วนหนึ่งอยู่ในเอเชียตะวันตก และทิศเหนือติดทะเลดำ ทิศตะวันออกติดประเทศจอร์เจียและประเทศอาร์เมเนีย ทิศใต้ติดประเทศอิรัก ประเทศซีเรีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ส่วนทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดประเทศบัลแกเรียและประเทศกรีซ และมีอากาศร้อนในภูมิภาคทะเลดำ อากาศแบบภาคพื้นทวีปในพื้นที่ตอนใน และแบบเมดิเตอร์เรเนียนตามชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยประชาชนร้อยละ 98 นับถือศาสนาอิสลาม ที่เหลือที่เหลือเป็นคริสเตียนและยิว มีภาษาเตอร์กิชเป็นภาษาราชการ

ตุรกีเป็นนครที่อุดมไปด้วยเรื่องราวแห่งตำนานและประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นสงครามเมืองทรอย และม้าไม้อันลือลั่น อิสตันบูล อดีตเมืองหล่วงแห่ง 3 อาณาจักร ศึกษาร่องรอยอารยธรรมของดินแดนในตอนกลางอนาโตเลีย มรดกโลกทั้งทางด้านธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมในบริเวณที่เรียกว่า คัมปาโดเจีย ชื่นชมทัศนียภาพอันน่าอัศจรรย์แห่งหุบเขาเกอเรเม ปามุกคาเล หรือ ปราสาทปุยฝ้ายที่ธรรมชาติรังสรรค์ เมืองเอเฟซุส นครโบราณที่พรั่งพร้อมไปด้วยร่องรอยอารยธรรมแห่งกรีก-โรมัน

การท่องเที่ยวในตุรกีมีหลายประเภท ไมว่าจะเป็นการปีนเขา ชมธรรมชาติ เที่ยวทะเล ดำน้ำ ตกปลา ล่องแก่ง และชมโบราณสถานเชิงศิลปะและประวัติศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นแหล่งช้อปปิ้งสินค้าประเภทหัตถกรรมที่โด่งดังอีกด้วย

ตุรกีมีจำนวนประชากรทั้งหมดประมาณ 69,660,559 คน ส่วนใหญ่เป็นชาวเติร์ก (85%) และเคิร์ด (15%) นอกจากนั้นเป็นชนกลุ่มน้อยเชื้อสายลาซ เฮมซิน อาหรับ ยิว กรีก และอาเมย์เนียน ประชากรกว่าครึ่ง (59%) อาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่โดยเรียงตามลำดับ ดังนี้ อิสตันบลู (Istanbul) อังการา (Ankara) อิสมีร์ (Izmir) อาดานา (Adana) คอนยา (Konya) บูร์ซา (Bursa) และอันตาเลีย (Antalya) ประชากร 99% นับถือศาสนาอิสลาม ที่เหลือนับถือคริสและยิว

ตุรกีเป็นประเทศเกษตรกรรม สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอต่อการเลี้ยงคนในประเทศ ผลผลิตที่สำคัญของประเทศคือ มะกอก ฝ้าย ใบชา ยาสูบ ผลไม้ ผัก ปลา ปศุสัตว์ และยังมีการทำเหมืองแร่ ตลอดจนอุตสาหกรรมหนักบางประเภทซึ่งจะไม่กล่าวถึงในที่นี้ ส่วนสินค้าส่งออกสำคัญคือ ฝ้าย ขนสัตว์ ยาสูบ ลูกเกด แร่โครเมียม แมงกานีส และอะไหล่ยนต์ เป็นต้น

ตุรกี (Turkey) ดินแดนเพียงหนึ่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตพาดผ่านแผ่นดินทั้งยุโรปและเอเชียเป็นเนื้อเดียว


ตุรกี หรือสาธารณรัฐตุรกี
มีกรุงอังการาเมืองหลวง เป็นประเทศที่มีพรมแดนระหว่างทวีปเอเชียกับยุโรป เนื่องจากส่วนหนึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป อีกส่วนหนึ่งอยู่ในเอเชียตะวันตก และทิศเหนือติดทะเลดำ ทิศตะวันออกติดประเทศจอร์เจียและประเทศอาร์เมเนีย ทิศใต้ติดประเทศอิรัก ประเทศซีเรีย และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ส่วนทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดประเทศบัลแกเรียและประเทศกรีซ และมีอากาศร้อนในภูมิภาคทะเลดำ อากาศแบบภาคพื้นทวีปในพื้นที่ตอนใน และแบบเมดิเตอร์เรเนียนตามชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยประชาชนร้อยละ 98 นับถือศาสนาอิสลาม ที่เหลือที่เหลือเป็นคริสเตียนและยิว มีภาษาเตอร์กิชเป็นภาษาราชการ

ตุรกี ดินแดนที่กวีเอกโฮเมอร์ รจนามหากาพย์อีเลียด (Iliad) ตามแรงบันดาลใจเมื่อได้เห็นฝั่งทะเลอีเจียน ดินแดนที่มาร์ก แอนโทนี่ และคลีโอพัตราเลือกมาฉลองความหวานชื่นแห่งน้ำผึ้งพระจันทร์ ดินแดนแห่งสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคโบราณ เช่น สุสานเมืองฮาลิคาร์นัสซุส และวิหารเทพีอาร์ทีสในเอเฟซุส สัมผัสทะเลงดงามที่เทพีวีนัสเคยสรงสนาน และเพลิดเพลินไปในดินแดนที่เทพสุริยะให้สมญานามว่า อนาโตเลีย ซึ่งตุรกีเป็นประเทศเกษตรกรรม สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอต่อการเลี้ยงคนในประเทศ ผลผลิตที่สำคัญของประเทศ คือ มะกอก ฝ้าย ใบชา ยาสูบ ผลไม้ ผัก ปลา ปศุสัตว์ และยังมีการทำเหมืองแร่ ส่วนสินค้าส่งออกสำคัญ คือ ฝ้าย ขนสัตว์ ยาสูบ ลูกเกด แร่โครเมียม แมงกานีส และอะไหล่ยนต์ เป็นต้น

ตุรกีเป็นนครที่อุดมไปด้วยเรื่องราวแห่งตำนานและประวัติศาสตร์

ไม่ว่าจะเป็นสงครามเมืองทรอย และม้าไม้อันลือลั่น   อดีตเมืองหล่วงแห่ง 3 อาณาจักร ศึกษาร่องรอยอารยธรรมของดินแดนในตอนกลางอนาโตเลีย มรดกโลกทั้งทางด้านธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมในบริเวณที่เรียกว่า คัมปาโดเจีย ชื่นชมทัศนียภาพอันน่าอัศจรรย์แห่งหุบเขาเกอเรเม ปามุกคาเล หรือ ปราสาทปุยฝ้ายที่ธรรมชาติรังสรรค์ เมืองเอเฟซุส นครโบราณที่พรั่งพร้อมไปด้วยร่องรอยอารยธรรมแห่งกรีก-โรมัน

เนื่องจากตุรกีก็มีอาณาเขตกว้างขวางมาก ประกอบกับมี 4 ฤดู ภูมิอากาศเขตต่างๆในแต่ละช่วงเวลาของปีจึงมีความแตกต่างมาก ขณะที่บางเขตเป็นฤดูร้อน บางแคว้นอาจมีหิมะปกคลุมอยู่ ช่วงเวลาที่อากาศร้อน ได้แก่ เดือนมิถุนายน-กันยายน ส่วนเดือนที่เหมาะแก่การไปท่องเที่ยวคือ เดือนเมษายน-พฤษภาคม และเดือนกันยายน-ตุลาคม ส่วนการเล่นสกีในฤดูหนาว คือเดือนธันวาคม-มีนาคม การท่องเที่ยวในตุรกีมีมากมายหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นการปีนเขา ชมธรรมชาติ เที่ยวทะเล ดำน้ำ ตกปลา ล่องแก่ง และชมโบราณสถาน